พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
๙๙๙ ตะกรุดจันทร...
๙๙๙ ตะกรุดจันทร์เพ็ญ หลวงพ่อไกร วัดใหญ่ ชัยนาท (2) ๙๙๙
ตะกรุดจันทร์เพ็ญ หลวงพ่อไกร วัดใหญ่ ชัยนาท ยาว 4 นิ้ว ทำจากฝาบาตร (ถาดตราช้าง) สังเกตุด้านนอกตะกรุดของท่าน จะมีลวดลายดอกไม้ รอบๆ บางดอกติดรูปช้าง ดั่งในรูปก็มี / เราจะกล่าวถึงชีวประวัติ ของท่านกันสักหน่อยครับ / หลวงพ่อไกร นามเดิมชื่อไกร เกิดปีมะแม เดือน ๑๐ วันศุกร์ พ.ศ. ๒๔๐๑ อยู่บ้านหาดทนง อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี บิดาชื่อรุ่ง มารดาชื่อ ทอง อาชีพของโยมบิดา มารดา ของท่านทำไร่ ทำเหล็ก เมื่อก่อนท่านอุปสมบทได้ช่วยเหลือพ่อแม่ท่านทำไร่ทำเหล็กและท่านพอใจชอบเล่นเทิดเทิง (กลองยาว) และท่านตีไม้กระบี่เมื่อยังเป็นเด็กไม่เคยได้อยู่วัดเพื่อศึกษาวิชาหนังสือเลยพออายุพอที่จะอุปสมบทได้ พ่อ แม่ ท่านก็นำไปฝากไว้ในสำนักท่านอาจารย์เปียเจ้าอาวาสวัดใหญ่ คือวัดที่ท่านอยู่ได้ศึกษาวิชาหนังสือไทยพอมีความรู้อ่านได้เขียนได้ก็อุปสมบทที่พัทธสีมาวัดใหญ่ตำบลท่าฉนวน เดือน ๖ ข้างขึ้นปีขาล พ.ศ. (ไม่ทราบแน่นอน) พระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์แบน เจ้าอาวาสวัดหลวง จังหวัดอุทัยธานี พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์นุ่ม เจ้าอาวาสวัดขวิด จังหวัดอุทัยธานี พระอนุสาวนาจารย์ พระอาจารย์เปีย เจ้าอาวาสวัดใหญ่ พออุปสมบทแล้วท่านได้อยู่ปฏิบัติพระอาจารย์เปียอยู่ ๑ พรรษา พรรษา ๒ ได้ย้ายไปอยู่วัดขวิดเพื่อศึกษาวิชาได้เรียนมูลกัจจายในสำนักท่านอาจารย์บู๊อยู่ ๑ พรรษา พรรษา ๓ ได้ย้ายจากวัดขวิดไปศึกษามูลกัจจายต่อสำนักท่านอาจารย์เกิด วัดโคก ( เนินสุธาราม ) ๑ พรรษา พรรษา ๔ ได้ย้ายจากวัดโคกได้ไปศึกษามูลกัจจายในสำนักท่านอาจารย์วัดไก่เตี้ยจังหวัดพระนครกรุงศรีอยุธยา(นามวัดและอาจารย์วัดไก่เตี้ยชื่ออะไรข้าพเจ้าไม่รู้จัก)แต่เขาเรียกกันว่าท่านอาจารย์วัดไก่เตี้ยท่านได้ศึกษามูลกัจจายและธัมมปทัฎฐกถาในสำนักท่านอาจารย์วัดไก่เตี้ยและได้ศึกษาต่ออีกหลายอย่าง เช่น เทศน์มหาชาติเป็นอาทิฯ รวมเวลาที่ศึกษาอยู่ในสำนักท่านอาจารย์วัดไก่เตี้ย ๑๐ พรรษา จนมีความรู้ทางเทศนาเป็นธรรมถึกได้อย่างดี พรรษาที่ ๑๔ ได้ย้ายไปอยู่ทางจังหวัดราชบุรี ( ชื่อวัดจำไม่ได้ ) สำนักอยู่หนึ่งพรรษา พรรษาที่ ๑๕ ได้ย้ายไปอยู่วัดจินดา ตำบลบ้านแป้ง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี สำนักอยู่ ๖ พรรษา ในระหว่างนี้ได้ย้ายไปอยู่วัดบ้านกล้วย อำเภอบ้านเซ่า จังหวัดลพบุรี อยู่ ๑ พรรษา แล้วกลับไปอยู่วัดจินดาอีก รวมเวลาที่อยู่ ๒ ครั้ง จึงเป็น ๖ พรรษา พรรษาที่ ๒๒ได้ย้ายไปอยู่จำพรรษาที่วัดใหญ่ได้เป็น
เจ้าอาวาสปกครองวัดใหญ่ปกครองวัดใหญ่อยู่ ๓๖ ปีหลวงพ่อไกรนี้เมื่อยังครองชีวิตอยู่เป็นคฤหัสถ์ก็ประพฤติมีศีลธรรมอันดีงามเป็นที่รักใคร่แก่ประชาชนเป็นอันมากครั้นอุปสมบทแล้วก็ประพฤติเคร่งครัดต่อพระวินัยมิได้เสียหายประการใดนอกจากนี้ก็ตั้งใจศึกษาพระปริยัติธรรม จนมีความรู้แตกฉาน นอกจากนี้ท่านยังมีอัธยาศัยโอบอ้อมอารีแก่คฤหัสถ์บรรพชิตเป็นทุกถ้วนหน้านับว่าจะหาผู้ทรงคุณความดีได้อย่างท่านนั้นยากที่สุดท่านจะไปอยู่ในสถานที่ใดก็มุ่งให้ความสุขแก่เขาทุกถ้วนหน้าที่จะมุ่งให้ความชั่วแก่เขาไม่มี นับว่าท่านได้นำอุบัติมาทำประโยชน์ให้แก่สัตว์โลกจนมรณภาพแต่ก่อนที่ท่านจะมรณภาพ ก็เนื่องด้วยท่านไปเทศนาสอนประชาชนที่ศาลาวัดใหญ่วันสิ้นเดือน พ.ศ. ๒๔๗๘ เมื่อกลับจากเทศนาที่ศาลา ถูกไอฝนเลยอาพาธเป็นไข้หวัด ถึงกระนั้นท่านก็มิได้ท้อถอยในการเทศนาอุตส่าห์ไปเทศนาสอนประชาชนอีก ๒ – ๓ เวลา เพราะที่วัดใหญ่มีเทศนาสอนประชาชนในวันเข้าพรรษาทุกวันพระ ทุก ๆ ปี การอาพาธของท่านก็ยังไม่ทุเลา โรคริดสีดวงทวารที่มีประจำอยู่ในกายของท่านก็ยังไม่ทุเลาก็กำเริบหนัก ลงเป็นเลือดเป็นหนองแพทย์ได้ประกอบยาบำบัดหลายขนานอาการก็ไม่ทุเลามีแต่หนักขึ้นทุกที แต่แพทย์ที่ประกอบยานั้นถึง ๔ คน ภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ได้พยาบาลกันอย่างเต็มความสามารถ ชั่วโมงหนึ่งลงเป็นเลือดเป็นหนองตั้ง ๕๐ ครั้งเศษ มีแต่หนักลงทุกที ผลที่สุดจึง ได้มรณภาพ จึงเป็นที่โทมนัสแก่บรรดาผู้ที่เคารพนับถือท่านเป็นอันมาก การมรณภาพของท่านเดือน ๑๐ แรม ๙ ค่ำกลางคืน เวลา ๕ ทุ่มพ.ศ. ๒๔๗๘ รวมเวลาที่ท่านทรงชีวิตอยู่ ๗๗ ปี อุปสมบทได้ ๕๗ พรรษา เป็นเจ้าอาวาสวัดใหญ่ ๓๖ ปี หลวงพ่อไกรเป็นพระที่ชอบบริจาคทานเป็นประจำขนาดขโมยมาลักตะเกียงลาน ตะเกียงเจ้าพายุ ขโมยเอื้อมมือหยิบไม่ถึงหลวงพ่อไกรยังเอาเท้าท่านถีบส่งให้ขโมย หลวงพ่อไกรเป็นพระที่มีเมตตาธรรมสูงเป็นที่เคารพของประชาชนชาวบ้านวัดใหญ่และบริเวณใกล้เคียงลูกศิษย์์ท่านก็เยอะทั้งที่เป็นฆราวาสก็มี พระภิกษุก็มี อย่างเช่น หลวงพ่อศรี วัดพระปรางค์ อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี และ หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง ก็ยังเคยมาเรียนวิชากับท่านและฝากตัวเป็นศิษย์ หลวงพ่อไกรนั้นอาวุโสน้อยกว่าหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่าประมาณ ๑๐ ปี ท่านไปมาหาสู่กันเป็นประจำส่วนมากจะมาทางเรือเสียส่วนมากเพราะว่าสมัยก่อนนั้นการคมนาคมไม่สะดวก เมื่อสมัยท่านยังมีชีวิตอยู่นั้นท่านได้สร้างวัตถุมงคลไว้มี เสื้อยันต์แดง ตะกรุด มีเนื้อฝาบาตร ( ถาดตราช้าง ) เนื้อตะกั่ว และมีรูปถ่ายห้อยคอขนาดเล็กเท่าปลายเล็บหัวแม่มือ ประสบการณ์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาด คงกระพัน มหาอุด ในสมัยก่อนขโมยเยอะชอบมาลักวัวควายจึงมีคนนำของมาให้หลวงพ่อไกรลงอักขระแล้วนำไปบูชาติดตัวซึ่งวัตถุมงคลหรือเครื่องรางของขลังของหลวงพ่อไกรทุกชนิดท่านมิได้สร้างเพียงแต่ญาติโยมเป็นผู้นำสิ่งของนั้นมาให้ท่านลงอักขระปลุกเสกของท่านขลังและศักดิ์สิทธิ์มาก ท่านจะทำตะกรุดเพียงครั้งเดียว คือจะทำในวันเพ็ญเดือนสิบสองเท่านั้นส่วนกรรมวิธีการทำนั้นท่านทำใต้น้ำหน้าวัดใหญ่ซึ่งจะต้องรอให้น้ำนิ่งท่านจะให้ลูกศิษย์ยืนรอบริเวณนั้นท่านสั่งก่อนที่จะลงไปทำว่าถ้าตะกรุดดอกไหนลอยขึ้นหน้าวัดใหญ่มาแล้วลอยทวนน้ำท่านให้เอาตะแกรงนั้นซ้อนขึ้นมาเป็นอันว่าใช้ได้เสร็จสมบูรณ์ครั้งหนึ่งจะได้ตะกรุดประมาณ ๑๕–๒๐ดอกเท่านั้นจึงเป็นที่ต้องการของบรรดาเซียนพระและประชาชนชาวบ้านในระแวกนั้นเป็นอย่างมากแต่จำนวนไม่เพียงพอแก่ความต้องการ ตะกรุดของหลวงพ่อไกรโดยที่หลวงพ่อไกรเขาได้ให้ตะกรุดกับ หลานของหลวงพ่อเพื่อปกป้องตัว ตาบอกว่าหลานของหลวงพ่อนั้นได้ไปตัดผมและเกิดตัดผมไม่เข้าตัดอย่างไรก็ไม่ เข้าช่างตัดผมเลยถามว่ามีของดีอะไรหรือหลานของหลวงพ่อไดนำตะกรุดออกมาแล้ว ช่างตัดผมก็บอกกับหลานของหลวงพ่อว่าจะขอแรกกับเสื้อผ้าจำนวนหนึ่งหลานของ หลวงพ่อก็ตกลงเพราะคิดว่าให้ไปแล้วจะไปขอหลวงพ่อใหม่ได้ ตาบอกว่าหลานของหลวงพ่อกลับมาเหมือนกับนายอำเภอแต่งเสื้อผ้าดีกลับมาและได้ มาขอตะกรุดกับหลวงพ่อใหม่แต่หลวงพ่อไม่ได้ให้บอกว่าให้ไปแล้วไม่รักษา ๑ ปี ท่านจะทำตะกรุดเพียงครั้งเดียว คือ จะทำในวันเพ็ญเดือนสิบสองเท่านั้นส่วนกรรมวิธีการทำนั้นท่านทำใต้น้ำหน้าวัด ใหญ่ซึ่งจะต้องรอให้น้ำนิ่งท่านจะให้ลูกศิษย์ยืนรอบริเวณนั้นท่านสั่งก่อน ที่จะลงไปทำว่าถ้าตะกรุดดอกไหนลอยขึ้นมาแล้วลอยทวนน้ำท่านให้เอาตะแกรงนั้น ซ้อนขึ้นมาเป็นอันว่าใช้ได้เสร็จสมบูรณ์ครั้งหนึ่งจะได้ตะกรุดประมาณ ๑๕ ถึง ๒๐ ดอกเท่านั้น (((ที่มา ข้อมูลจากเวปวัดใหญ่)))... ชุดนี้ เป็นชุดที่ 2 ครับ รวม 4 ดอก สภาพผิวหิ้งเดิม ๆ
ผู้เข้าชม
4561 ครั้ง
ราคา
โทรหา
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
paepimai
ชื่อร้าน
เป้พิมาย
ร้านค้า
paepimai.99wat.com
โทรศัพท์
080-2188361
ไอดีไลน์
0802188361
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 069-0-34788-5
๙๙๙ลูกอมมหากัน หลวงพ่อคง บางกะ
๙๙๙ ตะกรุดจันทร์เพ็ญ หลวงพ่อศุ
๙๙๙ กะลาแกะ พระราหู วัดศรีษะทอ
๙๙๙ ลูกอมผงยาดำ เจ็ดพญาช้างสาร
๙๙๙ไม้ครู หลวงปู่ภู วัดอินทร์
๙๙๙ มีดเทพศาตราวุธ ๙๙๙
๙๙๙ ลูกอมชานหมาก หลวงปู่ทอง วั
๙๙๙ ตะกรุดจันทร์เพ็ญ หลวงปู่ศุ
ตะกรุดหนังหน้าผากเสือ หลวงพ่อ
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Zomlazzali
geetar
ตุ๊ก แปดริ้ว
แมวดำ99
เปียโน
Paphon07
โชคเมืองนนท์
เจริญสุข
Erawan
ยิ้มสยาม573
เอก พานิชพระเครื่อง
ปราสาทมรกต
somphop
ศิษย์หลวงปู่หมุน
termboon
JO RAYONG
บ้านพระสมเด็จ
บ้านพระหลักร้อย
เนินพระ99
ยุ้ย พลานุภาพ
sakunchart
traveller277
someman
ภูมิ IR
ว.ศิลป์สยาม
จิ๊บพุทธะมงคล
บี บุรีรัมย์
ponsrithong2
กรัญระยอง
kaew กจ.
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1455 คน
เพิ่มข้อมูล
๙๙๙ ตะกรุดจันทร์เพ็ญ หลวงพ่อไกร วัดใหญ่ ชัยนาท (2) ๙๙๙
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
๙๙๙ ตะกรุดจันทร์เพ็ญ หลวงพ่อไกร วัดใหญ่ ชัยนาท (2) ๙๙๙
รายละเอียด
ตะกรุดจันทร์เพ็ญ หลวงพ่อไกร วัดใหญ่ ชัยนาท ยาว 4 นิ้ว ทำจากฝาบาตร (ถาดตราช้าง) สังเกตุด้านนอกตะกรุดของท่าน จะมีลวดลายดอกไม้ รอบๆ บางดอกติดรูปช้าง ดั่งในรูปก็มี / เราจะกล่าวถึงชีวประวัติ ของท่านกันสักหน่อยครับ / หลวงพ่อไกร นามเดิมชื่อไกร เกิดปีมะแม เดือน ๑๐ วันศุกร์ พ.ศ. ๒๔๐๑ อยู่บ้านหาดทนง อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี บิดาชื่อรุ่ง มารดาชื่อ ทอง อาชีพของโยมบิดา มารดา ของท่านทำไร่ ทำเหล็ก เมื่อก่อนท่านอุปสมบทได้ช่วยเหลือพ่อแม่ท่านทำไร่ทำเหล็กและท่านพอใจชอบเล่นเทิดเทิง (กลองยาว) และท่านตีไม้กระบี่เมื่อยังเป็นเด็กไม่เคยได้อยู่วัดเพื่อศึกษาวิชาหนังสือเลยพออายุพอที่จะอุปสมบทได้ พ่อ แม่ ท่านก็นำไปฝากไว้ในสำนักท่านอาจารย์เปียเจ้าอาวาสวัดใหญ่ คือวัดที่ท่านอยู่ได้ศึกษาวิชาหนังสือไทยพอมีความรู้อ่านได้เขียนได้ก็อุปสมบทที่พัทธสีมาวัดใหญ่ตำบลท่าฉนวน เดือน ๖ ข้างขึ้นปีขาล พ.ศ. (ไม่ทราบแน่นอน) พระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์แบน เจ้าอาวาสวัดหลวง จังหวัดอุทัยธานี พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์นุ่ม เจ้าอาวาสวัดขวิด จังหวัดอุทัยธานี พระอนุสาวนาจารย์ พระอาจารย์เปีย เจ้าอาวาสวัดใหญ่ พออุปสมบทแล้วท่านได้อยู่ปฏิบัติพระอาจารย์เปียอยู่ ๑ พรรษา พรรษา ๒ ได้ย้ายไปอยู่วัดขวิดเพื่อศึกษาวิชาได้เรียนมูลกัจจายในสำนักท่านอาจารย์บู๊อยู่ ๑ พรรษา พรรษา ๓ ได้ย้ายจากวัดขวิดไปศึกษามูลกัจจายต่อสำนักท่านอาจารย์เกิด วัดโคก ( เนินสุธาราม ) ๑ พรรษา พรรษา ๔ ได้ย้ายจากวัดโคกได้ไปศึกษามูลกัจจายในสำนักท่านอาจารย์วัดไก่เตี้ยจังหวัดพระนครกรุงศรีอยุธยา(นามวัดและอาจารย์วัดไก่เตี้ยชื่ออะไรข้าพเจ้าไม่รู้จัก)แต่เขาเรียกกันว่าท่านอาจารย์วัดไก่เตี้ยท่านได้ศึกษามูลกัจจายและธัมมปทัฎฐกถาในสำนักท่านอาจารย์วัดไก่เตี้ยและได้ศึกษาต่ออีกหลายอย่าง เช่น เทศน์มหาชาติเป็นอาทิฯ รวมเวลาที่ศึกษาอยู่ในสำนักท่านอาจารย์วัดไก่เตี้ย ๑๐ พรรษา จนมีความรู้ทางเทศนาเป็นธรรมถึกได้อย่างดี พรรษาที่ ๑๔ ได้ย้ายไปอยู่ทางจังหวัดราชบุรี ( ชื่อวัดจำไม่ได้ ) สำนักอยู่หนึ่งพรรษา พรรษาที่ ๑๕ ได้ย้ายไปอยู่วัดจินดา ตำบลบ้านแป้ง อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี สำนักอยู่ ๖ พรรษา ในระหว่างนี้ได้ย้ายไปอยู่วัดบ้านกล้วย อำเภอบ้านเซ่า จังหวัดลพบุรี อยู่ ๑ พรรษา แล้วกลับไปอยู่วัดจินดาอีก รวมเวลาที่อยู่ ๒ ครั้ง จึงเป็น ๖ พรรษา พรรษาที่ ๒๒ได้ย้ายไปอยู่จำพรรษาที่วัดใหญ่ได้เป็น
เจ้าอาวาสปกครองวัดใหญ่ปกครองวัดใหญ่อยู่ ๓๖ ปีหลวงพ่อไกรนี้เมื่อยังครองชีวิตอยู่เป็นคฤหัสถ์ก็ประพฤติมีศีลธรรมอันดีงามเป็นที่รักใคร่แก่ประชาชนเป็นอันมากครั้นอุปสมบทแล้วก็ประพฤติเคร่งครัดต่อพระวินัยมิได้เสียหายประการใดนอกจากนี้ก็ตั้งใจศึกษาพระปริยัติธรรม จนมีความรู้แตกฉาน นอกจากนี้ท่านยังมีอัธยาศัยโอบอ้อมอารีแก่คฤหัสถ์บรรพชิตเป็นทุกถ้วนหน้านับว่าจะหาผู้ทรงคุณความดีได้อย่างท่านนั้นยากที่สุดท่านจะไปอยู่ในสถานที่ใดก็มุ่งให้ความสุขแก่เขาทุกถ้วนหน้าที่จะมุ่งให้ความชั่วแก่เขาไม่มี นับว่าท่านได้นำอุบัติมาทำประโยชน์ให้แก่สัตว์โลกจนมรณภาพแต่ก่อนที่ท่านจะมรณภาพ ก็เนื่องด้วยท่านไปเทศนาสอนประชาชนที่ศาลาวัดใหญ่วันสิ้นเดือน พ.ศ. ๒๔๗๘ เมื่อกลับจากเทศนาที่ศาลา ถูกไอฝนเลยอาพาธเป็นไข้หวัด ถึงกระนั้นท่านก็มิได้ท้อถอยในการเทศนาอุตส่าห์ไปเทศนาสอนประชาชนอีก ๒ – ๓ เวลา เพราะที่วัดใหญ่มีเทศนาสอนประชาชนในวันเข้าพรรษาทุกวันพระ ทุก ๆ ปี การอาพาธของท่านก็ยังไม่ทุเลา โรคริดสีดวงทวารที่มีประจำอยู่ในกายของท่านก็ยังไม่ทุเลาก็กำเริบหนัก ลงเป็นเลือดเป็นหนองแพทย์ได้ประกอบยาบำบัดหลายขนานอาการก็ไม่ทุเลามีแต่หนักขึ้นทุกที แต่แพทย์ที่ประกอบยานั้นถึง ๔ คน ภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ได้พยาบาลกันอย่างเต็มความสามารถ ชั่วโมงหนึ่งลงเป็นเลือดเป็นหนองตั้ง ๕๐ ครั้งเศษ มีแต่หนักลงทุกที ผลที่สุดจึง ได้มรณภาพ จึงเป็นที่โทมนัสแก่บรรดาผู้ที่เคารพนับถือท่านเป็นอันมาก การมรณภาพของท่านเดือน ๑๐ แรม ๙ ค่ำกลางคืน เวลา ๕ ทุ่มพ.ศ. ๒๔๗๘ รวมเวลาที่ท่านทรงชีวิตอยู่ ๗๗ ปี อุปสมบทได้ ๕๗ พรรษา เป็นเจ้าอาวาสวัดใหญ่ ๓๖ ปี หลวงพ่อไกรเป็นพระที่ชอบบริจาคทานเป็นประจำขนาดขโมยมาลักตะเกียงลาน ตะเกียงเจ้าพายุ ขโมยเอื้อมมือหยิบไม่ถึงหลวงพ่อไกรยังเอาเท้าท่านถีบส่งให้ขโมย หลวงพ่อไกรเป็นพระที่มีเมตตาธรรมสูงเป็นที่เคารพของประชาชนชาวบ้านวัดใหญ่และบริเวณใกล้เคียงลูกศิษย์์ท่านก็เยอะทั้งที่เป็นฆราวาสก็มี พระภิกษุก็มี อย่างเช่น หลวงพ่อศรี วัดพระปรางค์ อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี และ หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง ก็ยังเคยมาเรียนวิชากับท่านและฝากตัวเป็นศิษย์ หลวงพ่อไกรนั้นอาวุโสน้อยกว่าหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่าประมาณ ๑๐ ปี ท่านไปมาหาสู่กันเป็นประจำส่วนมากจะมาทางเรือเสียส่วนมากเพราะว่าสมัยก่อนนั้นการคมนาคมไม่สะดวก เมื่อสมัยท่านยังมีชีวิตอยู่นั้นท่านได้สร้างวัตถุมงคลไว้มี เสื้อยันต์แดง ตะกรุด มีเนื้อฝาบาตร ( ถาดตราช้าง ) เนื้อตะกั่ว และมีรูปถ่ายห้อยคอขนาดเล็กเท่าปลายเล็บหัวแม่มือ ประสบการณ์ เมตตามหานิยม แคล้วคลาด คงกระพัน มหาอุด ในสมัยก่อนขโมยเยอะชอบมาลักวัวควายจึงมีคนนำของมาให้หลวงพ่อไกรลงอักขระแล้วนำไปบูชาติดตัวซึ่งวัตถุมงคลหรือเครื่องรางของขลังของหลวงพ่อไกรทุกชนิดท่านมิได้สร้างเพียงแต่ญาติโยมเป็นผู้นำสิ่งของนั้นมาให้ท่านลงอักขระปลุกเสกของท่านขลังและศักดิ์สิทธิ์มาก ท่านจะทำตะกรุดเพียงครั้งเดียว คือจะทำในวันเพ็ญเดือนสิบสองเท่านั้นส่วนกรรมวิธีการทำนั้นท่านทำใต้น้ำหน้าวัดใหญ่ซึ่งจะต้องรอให้น้ำนิ่งท่านจะให้ลูกศิษย์ยืนรอบริเวณนั้นท่านสั่งก่อนที่จะลงไปทำว่าถ้าตะกรุดดอกไหนลอยขึ้นหน้าวัดใหญ่มาแล้วลอยทวนน้ำท่านให้เอาตะแกรงนั้นซ้อนขึ้นมาเป็นอันว่าใช้ได้เสร็จสมบูรณ์ครั้งหนึ่งจะได้ตะกรุดประมาณ ๑๕–๒๐ดอกเท่านั้นจึงเป็นที่ต้องการของบรรดาเซียนพระและประชาชนชาวบ้านในระแวกนั้นเป็นอย่างมากแต่จำนวนไม่เพียงพอแก่ความต้องการ ตะกรุดของหลวงพ่อไกรโดยที่หลวงพ่อไกรเขาได้ให้ตะกรุดกับ หลานของหลวงพ่อเพื่อปกป้องตัว ตาบอกว่าหลานของหลวงพ่อนั้นได้ไปตัดผมและเกิดตัดผมไม่เข้าตัดอย่างไรก็ไม่ เข้าช่างตัดผมเลยถามว่ามีของดีอะไรหรือหลานของหลวงพ่อไดนำตะกรุดออกมาแล้ว ช่างตัดผมก็บอกกับหลานของหลวงพ่อว่าจะขอแรกกับเสื้อผ้าจำนวนหนึ่งหลานของ หลวงพ่อก็ตกลงเพราะคิดว่าให้ไปแล้วจะไปขอหลวงพ่อใหม่ได้ ตาบอกว่าหลานของหลวงพ่อกลับมาเหมือนกับนายอำเภอแต่งเสื้อผ้าดีกลับมาและได้ มาขอตะกรุดกับหลวงพ่อใหม่แต่หลวงพ่อไม่ได้ให้บอกว่าให้ไปแล้วไม่รักษา ๑ ปี ท่านจะทำตะกรุดเพียงครั้งเดียว คือ จะทำในวันเพ็ญเดือนสิบสองเท่านั้นส่วนกรรมวิธีการทำนั้นท่านทำใต้น้ำหน้าวัด ใหญ่ซึ่งจะต้องรอให้น้ำนิ่งท่านจะให้ลูกศิษย์ยืนรอบริเวณนั้นท่านสั่งก่อน ที่จะลงไปทำว่าถ้าตะกรุดดอกไหนลอยขึ้นมาแล้วลอยทวนน้ำท่านให้เอาตะแกรงนั้น ซ้อนขึ้นมาเป็นอันว่าใช้ได้เสร็จสมบูรณ์ครั้งหนึ่งจะได้ตะกรุดประมาณ ๑๕ ถึง ๒๐ ดอกเท่านั้น (((ที่มา ข้อมูลจากเวปวัดใหญ่)))... ชุดนี้ เป็นชุดที่ 2 ครับ รวม 4 ดอก สภาพผิวหิ้งเดิม ๆ
ราคาปัจจุบัน
โทรหา
จำนวนผู้เข้าชม
4686 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
paepimai
ชื่อร้าน
เป้พิมาย
URL
http://www.paepimai.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
080-2188361
ID LINE
0802188361
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 069-0-34788-5
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี